ความยั่งยืน
นโยบายและกลยุทธ์มุ่งสู่ความยั่งยืน
กลุ่มบริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี ตระหนักถึงการดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ และคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า พนักงาน คู่ค้า สังคมและชุมชน รวมถึงมุ่งพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน บริษัทได้ผนวกเป้าหมายการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืนเข้ากับกลยุทธ์การดำเนินงานของบริษัท ที่เน้นสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาและการเติบโตของบริษัท การกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง การเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน และการสร้างคุณค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท
นอกจากนี้ บริษัทยังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย โดยให้มีการจัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงการระบุและประเมินประเด็นที่เป็นสาระสำคัญต่อธุรกิจ (Materiality) เพื่อ นำมาจัดลำดับความสำคัญในการกำหนดแนวทางการจัดการความยั่งยืน
ดาวโหลดนโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน
“ Fuel Value to Community Living ”
สร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจของกลุ่มบริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี และคู่ค้าพันธมิตรต่อไปในระยะยาว สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งทางตรงและทางอ้อม มีการแบ่งปันคุณค่า (Share Value) และ การพัฒนาคุณค่า (Develop Value) จากภายในสู่ภายนอก ซึ่งรวมถึงชุมชน และสังคม ในรูปแบบต่างๆร่วมกัน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ขั้นตอนการวิเคราะห์ผู้มีส่วนเสีย


ขั้นตอนที่ 1
ระบุผู้ที่มีบทบาทและความสำคัญต่อธุรกิจ

ขั้นตอนที่ 2
ประเมินผลกระทบเชิงบวกและลบของผู้มีส่วนได้เสีย

ขั้นตอนที่ 3
จัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย

ขั้นตอนที่ 4
ระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย-
1. ระบุผู้ที่มีบทบาทและความสำคัญต่อธุรกิจ
ผู้มีส่วนได้เสียล้วนมีความสำคัญต่อการดำเนินงานของบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างเติบโตและยั่งยืน ดังนั้น บริษัทจึงได้ทำการวิเคราะห์โดยการระบุผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญต่อธุรกิจ และระบุว่าผู้มีส่วนได้เสียเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับธุรกิจอย่างไร -
2. ประเมินผลกระทบเชิงบวกและลบของผู้มีส่วนได้เสีย
ดำเนินการการจัดลำดับผู้มีส่วนได้เสียตามระดับผลกระทบที่มีต่อธุรกิจ ทั้งด้านการเงิน การดำเนินงาน กฎระเบียบข้อบังคับ ภาพลักษณ์ชื่อเสียง และความปลอดภัย -
3. จัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย
เมื่อบริษัททำการระบุผู้มีส่วนได้เสียครบถ้วนแล้ว จึงทำการพิจารณาผลกระทบที่ผู้มีส่วนได้เสียมีต่อธุรกิจ และผลกระทบที่ผู้มีส่วนได้เสียได้รับจากธุรกิจ เพื่อดำเนินการวางแผนและสร้างช่องทางมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสมต่อไป -
4. ระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ดำเนินการระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย โดยคำนึงถึงความแตกต่างกันตามลักษณะองค์กร พฤติกรรมของผู้มีส่วนได้เสีย และสภาพแวดล้อมของธุรกิจ และนำความคาดหวังของผู้มีส่วน ได้เสียจากกระบวนการมีส่วนร่วมมากำหนดประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาธุรกิจที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย
โดยผลการวิเคราะห์ข้างต้นจะถูกรวบรวมและวิเคราะห์โดยคณะทำงานพัฒนาความยั่งยืนองค์กร ก่อนการนำเสนอและรายงานต่อคณะทำงานกำกับดูแลกิจการ และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการเพื่อพิจารณา
ในปี 2562 บริษัทได้มีการทบทวนกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก โดยจัดลำดับและแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1. ผู้ถือหุ้น 2. ลูกค้า 3. พนักงาน 4. คู่ค้า 5. ชุมชน 6. หน่วยงานราชการ และ 7. สถาบันการเงิน ทั้งนี้ รูปแบบการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย จะแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยมีรายละเอียดแสดงดังต่อไปนี้
รูปแบบการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้มีส่วนได้เสีย |
ช่องทางการมีส่วนร่วม |
ประเด็นที่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียให้ความคาดหวัง |
![]() 1. ผู้ถือหุ้น (ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อยผู้ถือหุ้นกู้ นักวิเคราะห์ สถาบันการเงิน) |
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น, การประชุมนักวิเคราะห์,การแถลงผลการดำเนินงานรายไตรมาส, Road Showในประเทศและต่างประเทศ
|
|
![]() 2. ลูกค้า (ลูกค้าที่ซื้อสินค้าและบริการ) |
สำรวจความพึงพอใจของลูกค้า, พบปะลูกค้า, Call Center (1614), Whistleblowing, ข้อร้องเรียนลูกค้า, สื่อสังคมออนไลน์
|
|
![]() 3. พนักงาน (พนักงาน และผู้บริหาร) |
Employee engagement survey, ประชุมคณะกรรมการบุคคล นายจ้าง/ลูกจ้าง, ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ, Exit interview,Salary survey, กระบวนการประเมินค่างานและทบทวนโครงสร้าง-เงินเดือน, ประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย
|
|
![]() 4. คู่ค้า (ผู้ขายวัตถุดิบ, สินค้า, วัสดุอุปกรณ์, ผู้รับเหมา และผู้ให้บริการ Outsource) |
ประเมิน Supplier, Call Center (1614), Whistleblowing, การประชุมกับคู่ค้า/ผู้รับเหมา, เยี่ยมชมสถานที่ประกอบการของคู่ค้า
|
|
![]() 5. ชุมชน (ผู้ที่พักอาศัยอยู่รอบพื้นที่สถานประกอบการ) |
ลงพื้นที่สอบถามชุมชน, เข้าร่วมประชุมกับชุมชน, ข้อร้องเรียนจากคนในชุมชน, ซ้อมแผนฉุกเฉิน, กิจกรรม Safety Week
|
|
![]() 6. หน่วยงานราชการ (หน่วยงานราชการที่กำกับดูแล) |
เข้าร่วมประชุมกับภาครัฐ, กฏหมายใหม่, หนังสือที่ได้รับจากภาครัฐ
|
|
![]() 7. สถาบันการเงิน (เจ้าหนี้ผู้ให้สินเชื่อ) |
การประชุมร่วมกับตัวแทนจากสถาบันการเงิน ผลการประเมินของสถาบันการเงิน
|
|
การประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน
ขั้นตอนการประเมินประเด็นที่สำคัญ


ขั้นตอนที่ 1
ระบุประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Identification)

ขั้นตอนที่ 2
จัดลำดับประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Prioritization)

ขั้นตอนที่ 3
ทวนสอบประเด็นสำคัญ (Validation)-
1. ระบุประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Identification)
บริษัทได้ร่วมกันกำหนดประเด็นด้านความยั่งยืนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ตามมิติสิ่งแวดล้อม สังคม บรรษัทภิบาล โดยพิจารณาจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม แนวโน้มของธุรกิจโลก และประเด็นสำคัญของอุตสาหกรรมใกล้เคียง -
2. จัดลำดับประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Prioritization)
จัดลำดับความสำคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน โดยพิจารณาจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียและผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ ซึ่งกลุ่มประเด็นจะถูกแบ่งตามความสำคัญ 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง และน้อย โดยรายงานฉบับนี้จะครอบคลุมในระดับ มาก และปานกลางเท่านั้น -
3. ทวนสอบประเด็นสำคัญ (Validation)
รวบรวมและสรุปผลประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน เพื่อเสนอให้ฝ่ายจัดการที่เกี่ยวข้องในฐานะคณะทำงานกำกับดูแลกิจการ เป็นผู้ทบทวน พิจารณา รับรองผลการประเมินประเด็นสำคัญ และพิจารณาเห็นชอบให้มีการเปิดเผยในรายงานความยั่งยืนประจำปีของบริษัท โดยในปี 2562 บริษัทได้นำผลการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน ของปี 2561 มาใช้กำหนดเนื้อหาในรายงาน โดยได้มีการเปลี่ยนชื่อประเด็นให้เหมาะสมกับองค์กร ในมิติสังคม คือ ประเด็นเรื่องบริหารทรัพยากรบุคคล

ประเด็นที่สำคัญด้านความยั่งยืน และตัวชี้วัด
บริษัทได้จัดลำดับความสำคัญออกมาเป็น 11 ประเด็น และกำหนดตัวชี้วัดเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการจัดทำรายงานความยั่งยืน GRI Standards ดังนี้
ประเด็นความยั่งยืนที่สำคัญ |
|
ตัวชี้วัดของบริษัท | ความสอดคล้อง กับ GRI | ความสอดคล้อง กับ SDGs | ||||||||||||||
1. การกำกับดูแล กิจการที่ดี |
|
- ผลประเมินการกำกับผลสำรวจ การกำกับดูแลกิจ การบริษัทจดทะเบียน(CGR) | 205-2 | 8,16 | ||||||||||||||
- จำนวนข้อร้องเรียนที่มีนัยสำคัญ | 205-3 | |||||||||||||||||
7. การพัฒนาสังคมและชุมชน |
|
- จำนวนกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน | 8,11 | |||||||||||||||
- จำนวนพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม | ||||||||||||||||||
5. การบริหารทรัพยากรบุคคล |
|
- ความผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กร | 404-1 | 3,8,11 | ||||||||||||||
- จำนวนพนักงาน ที่ได้รับการ Training ตาม Roadmap ที่วางไว้ | ||||||||||||||||||
- อัตราการเกิดอุบัติเหตุ | 403-2 | |||||||||||||||||
2. การบริหารความเสี่ยง |
|
- การจัดการ ติดตามและทบทวนความเสี่ยงระดับหน่วยงาน | 102-30 | 8 | ||||||||||||||
4. นวัตกรรม |
|
- จำนวนโครงการที่ส่งเสริมด้านนวัตกรรม | 9 | |||||||||||||||
3. การบริหารห่วงโซ่อุปทาน |
|
- คู่ค้ารายสำคัญ ที่รับทราบ Supplier code of conduct | 16 | |||||||||||||||
6. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า |
|
- ความพึงพอใจของกลุ่มลูกค้าแฟรนไชส์ | 8 | |||||||||||||||
|
- จำนวนการถูกปรับอย่างมีนัยสำคัญกรณีละเมิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม | 307-1 | 12,7,13 | |||||||||||||||
|
- ปริมาณไฟฟ้าต่อยอดขายน้ำมันผ่านคลังน้ำมัน | 302-1 | ||||||||||||||||
- ปริมาณค่าไฟฟ้าต่อยอดขายน้ำมันผ่าน สถานีบริการ COCO | ||||||||||||||||||
- ปริมาณค่าน้ำต่อยอดขายน้ำมันผ่าน สถานีบริการ COCO |
การสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน SDGS
เป้าหมายที่ | เป้าประสงค์ | ประเด็นความยั่งยืน | การดำเนินการ | ประโยชน์ต่อบริษัท | ประโยชน์ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม |
มิติเศรษฐกิจ | |||||
8 : ส่งเสริมการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ และการมีงานที่มีคุณค่าสำหรับทุกคน
![]() |
8.1 รักษาการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ 8.2 เพิ่มความหลากหลายทาง เศรษฐกิจ ยกระดับเทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมถึงมุ่งเน้น การสร้างมูลค่าเพิ่มและ สนับสนุนการใช้แรงงานในภาค อุตสาหกรรม |
การกำกับดูแลกิจการที่ดี |
|
|
|
ความรับผิดชอบต่อลูกค้า |
|
|
|
||
การบริหารความเสี่ยง |
|
|
|
||
8 : ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุมและยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่และการมีงานที่มีคุณค่าสำหรับทุกคน
![]() |
8.5 จ้างงานเต็มอัตราอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นงานที่มีคุณค่าสำหรับผู้ชายและผู้หญิงทุกคน รวมถึงเยาวชน และผู้พิการ |
การพัฒนาสังคม และชุมชน |
|
|
|
การบริหารทรัพยากรบุคคล |
|
|
|
||
16 : ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมที่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ทุกคนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิภาพมีความรับผิดชอบ และทุกคนสามารถเข้าถึงในทุกระดับ
![]() |
16.5 ลดการทุจริตและการรับสินบนทุกรูปแบบ 16.6 พัฒนาสถาบันที่มีประสิทธิผล มีความรับผิดชอบและโปร่งใสในทุกระดับ 16.7 สร้างหลักประกันว่าจะมีกระบวนการตัดสินใจที่มีความรับผิดชอบ ครอบคลุม มีส่วนร่วมและมีความเป็นตัวแทนที่ดีในทุกระดับการตัดสินใจ |
การกำกับดูแลกิจการที่ดี |
|
|
|
การบริหารห่วงโซ่อุปทาน |
|
|
|
||
9 : สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความต้านทานและยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน
![]() |
9.2 สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรอบด้านและยั่งยืน 9.4 ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและปรับปรุงให้อุตสาหกรรมมีความยั่งยืน โดยเพิ่มการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและใช้เทคโนโลยีและกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่สะอาดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น |
นวัตกรรม |
|
|
|
มิติสังคม | |||||
1 : ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่
![]() |
1.1 ขจัดปัญหาความยากจน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|
11 : ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความทั่วถึงปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน
![]() |
11.1 สร้างหลักประกันการ บริการขั้นพื้นฐานที่เพียงพอ ปลอดภัย ตลอดจนยกระดับการพัฒนาชุมชนแออัด 11.2 จัดให้มีการเข้าถึงระบบคมนาคมที่ปลอดภัย และยั่งยืน สำหรับทุกคน และพัฒนาความปลอดภัยบนท้องถนน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|
มิติสิ่งแวดล้อม | |||||
7 : สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคาที่สามารถซื้อหาได้ เชื่อถือได้และยั่งยืน
![]() |
7.2 เพิ่มส่วนแบ่งของพลังงานหมุนเวียนในสมดุลการใช้พลังงาน 7.3 เพิ่มอัตราการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน |
พลังงานก๊าซเรือนกระจกการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
13 : ดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบ
![]() |
13.3 สร้างความตระหนักรู้และขีดความสามารถของมนุษย์และสถาบันในการบรรเทาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการปรับตัว และลดผลกระทบ |
|
|||
12 : สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน
![]() |
12.2 บริหารจัดการอย่างยั่งยืน และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ 12.4 บริหารจัดการสารเคมีและของเสียทุกประเภทอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 12.5 ลดการสร้างขยะในปริมาณมากโดยวิธีการป้องกันลดการใช้ รีไซเคิล และนำกลับมาใช้ใหม |
ขยะ ของเสีย และมลพิษ |
|
|
|
14 : อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
![]() |
14.2 บริหารจัดการและปกป้องระบบนิเวศชายฝั่งอย่างยั่งยืน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
บริษัท ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย โดยเชื่อมั่นว่าความคิดเห็นและข้อแนะนำของผู้มีส่วนได้เสียจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายในการเป็นองค์กรที่พัฒนาและเติบโตได้อย่าง ยั่งยืน พร้อมทั้งสามารถสร้างคุณประโยชน์ สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน บริษัทจึงได้มีการรับฟังความคิดเห็นรวมถึงข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนได้เสียผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึงสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อนำมาวิเคราะห์ พัฒนาแผน/ แนวทางในการดำเนินงาน โดยมีขั้นตอนที่สำคัญ ดังนี้ขั้นตอนการวิเคราะห์ผู้มีส่วนเสีย


ขั้นตอนที่ 1
ระบุผู้ที่มีบทบาทและความสำคัญต่อธุรกิจ

ขั้นตอนที่ 2
ประเมินผลกระทบเชิงบวกและลบของผู้มีส่วนได้เสีย

ขั้นตอนที่ 3
จัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย

ขั้นตอนที่ 4
ระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย-
1. ระบุผู้ที่มีบทบาทและความสำคัญต่อธุรกิจ
ผู้มีส่วนได้เสียล้วนมีความสำคัญต่อการดำเนินงานของบริษัท เพื่อให้บริษัทสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างเติบโตและยั่งยืน ดังนั้น บริษัทจึงได้ทำการวิเคราะห์โดยการระบุผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำคัญต่อธุรกิจ และระบุว่าผู้มีส่วนได้เสียเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กับธุรกิจอย่างไร -
2. ประเมินผลกระทบเชิงบวกและลบของผู้มีส่วนได้เสีย
ดำเนินการการจัดลำดับผู้มีส่วนได้เสียตามระดับผลกระทบที่มีต่อธุรกิจ ทั้งด้านการเงิน การดำเนินงาน กฎระเบียบข้อบังคับ ภาพลักษณ์ชื่อเสียง และความปลอดภัย -
3. จัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย
เมื่อบริษัททำการระบุผู้มีส่วนได้เสียครบถ้วนแล้ว จึงทำการพิจารณาผลกระทบที่ผู้มีส่วนได้เสียมีต่อธุรกิจ และผลกระทบที่ผู้มีส่วนได้เสียได้รับจากธุรกิจ เพื่อดำเนินการวางแผนและสร้างช่องทางมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสมต่อไป -
4. ระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ดำเนินการระบุกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย โดยคำนึงถึงความแตกต่างกันตามลักษณะองค์กร พฤติกรรมของผู้มีส่วนได้เสีย และสภาพแวดล้อมของธุรกิจ และนำความคาดหวังของผู้มีส่วน ได้เสียจากกระบวนการมีส่วนร่วมมากำหนดประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาธุรกิจที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย
โดยผลการวิเคราะห์ข้างต้นจะถูกรวบรวมและวิเคราะห์โดยคณะทำงานพัฒนาความยั่งยืนองค์กร ก่อนการนำเสนอและรายงานต่อคณะทำงานกำกับดูแลกิจการ และคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการเพื่อพิจารณา
ในปี 2562 บริษัทได้มีการทบทวนกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก โดยจัดลำดับและแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1. ผู้ถือหุ้น 2. ลูกค้า 3. พนักงาน 4. คู่ค้า 5. ชุมชน 6. หน่วยงานราชการ และ 7. สถาบันการเงิน ทั้งนี้ รูปแบบการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย จะแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยมีรายละเอียดแสดงดังต่อไปนี้
รูปแบบการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้มีส่วนได้เสีย |
ช่องทางการมีส่วนร่วม |
ประเด็นที่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียให้ความคาดหวัง |
![]() 1. ผู้ถือหุ้น (ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อยผู้ถือหุ้นกู้ นักวิเคราะห์ สถาบันการเงิน) |
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น, การประชุมนักวิเคราะห์,การแถลงผลการดำเนินงานรายไตรมาส, Road Showในประเทศและต่างประเทศ
|
|
![]() 2. ลูกค้า (ลูกค้าที่ซื้อสินค้าและบริการ) |
สำรวจความพึงพอใจของลูกค้า, พบปะลูกค้า, Call Center (1614), Whistleblowing, ข้อร้องเรียนลูกค้า, สื่อสังคมออนไลน์
|
|
![]() 3. พนักงาน (พนักงาน และผู้บริหาร) |
Employee engagement survey, ประชุมคณะกรรมการบุคคล นายจ้าง/ลูกจ้าง, ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ, Exit interview,Salary survey, กระบวนการประเมินค่างานและทบทวนโครงสร้าง-เงินเดือน, ประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย
|
|
![]() 4. คู่ค้า (ผู้ขายวัตถุดิบ, สินค้า, วัสดุอุปกรณ์, ผู้รับเหมา และผู้ให้บริการ Outsource) |
ประเมิน Supplier, Call Center (1614), Whistleblowing, การประชุมกับคู่ค้า/ผู้รับเหมา, เยี่ยมชมสถานที่ประกอบการของคู่ค้า
|
|
![]() 5. ชุมชน (ผู้ที่พักอาศัยอยู่รอบพื้นที่สถานประกอบการ) |
ลงพื้นที่สอบถามชุมชน, เข้าร่วมประชุมกับชุมชน, ข้อร้องเรียนจากคนในชุมชน, ซ้อมแผนฉุกเฉิน, กิจกรรม Safety Week
|
|
![]() 6. หน่วยงานราชการ (หน่วยงานราชการที่กำกับดูแล) |
เข้าร่วมประชุมกับภาครัฐ, กฏหมายใหม่, หนังสือที่ได้รับจากภาครัฐ
|
|
![]() 7. สถาบันการเงิน (เจ้าหนี้ผู้ให้สินเชื่อ) |
การประชุมร่วมกับตัวแทนจากสถาบันการเงิน ผลการประเมินของสถาบันการเงิน
|
|
การประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน
ในปี 2562 บริษัท ได้ทำการประเมินประเด็นะสำคัญด้านความยั่งยืน ตามแนวทางของ Global Reporting Initiative (GRI) โดยคำนึงถึงระดับอิทธิพลต่อการประเมินและการตัดสินใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและขอบเขตของกระบวนการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียจะครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องทางธุรกิจ ผลกระทบที่เป็นไปได้จากการดำเนินงาน และความพร้อมของข้อมูลตลอดจนผลกระทบที่อาจส่งผลต่อภายนอกองค์กรขั้นตอนการประเมินประเด็นที่สำคัญ


ขั้นตอนที่ 1
ระบุประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Identification)

ขั้นตอนที่ 2
จัดลำดับประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Prioritization)

ขั้นตอนที่ 3
ทวนสอบประเด็นสำคัญ (Validation)-
1. ระบุประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Identification)
บริษัทได้ร่วมกันกำหนดประเด็นด้านความยั่งยืนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ตามมิติสิ่งแวดล้อม สังคม บรรษัทภิบาล โดยพิจารณาจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม แนวโน้มของธุรกิจโลก และประเด็นสำคัญของอุตสาหกรรมใกล้เคียง -
2. จัดลำดับประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน (Prioritization)
จัดลำดับความสำคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน โดยพิจารณาจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียและผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ ซึ่งกลุ่มประเด็นจะถูกแบ่งตามความสำคัญ 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง และน้อย โดยรายงานฉบับนี้จะครอบคลุมในระดับ มาก และปานกลางเท่านั้น -
3. ทวนสอบประเด็นสำคัญ (Validation)
รวบรวมและสรุปผลประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน เพื่อเสนอให้ฝ่ายจัดการที่เกี่ยวข้องในฐานะคณะทำงานกำกับดูแลกิจการ เป็นผู้ทบทวน พิจารณา รับรองผลการประเมินประเด็นสำคัญ และพิจารณาเห็นชอบให้มีการเปิดเผยในรายงานความยั่งยืนประจำปีของบริษัท โดยในปี 2562 บริษัทได้นำผลการประเมินประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืน ของปี 2561 มาใช้กำหนดเนื้อหาในรายงาน โดยได้มีการเปลี่ยนชื่อประเด็นให้เหมาะสมกับองค์กร ในมิติสังคม คือ ประเด็นเรื่องบริหารทรัพยากรบุคคล

ประเด็นที่สำคัญด้านความยั่งยืน และตัวชี้วัด
บริษัทได้จัดลำดับความสำคัญออกมาเป็น 11 ประเด็น และกำหนดตัวชี้วัดเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการจัดทำรายงานความยั่งยืน GRI Standards ดังนี้
ประเด็นความยั่งยืนที่สำคัญ |
|
ตัวชี้วัดของบริษัท | ความสอดคล้อง กับ GRI | ความสอดคล้อง กับ SDGs | ||||||||||||||
1. การกำกับดูแล กิจการที่ดี |
|
- ผลประเมินการกำกับผลสำรวจ การกำกับดูแลกิจ การบริษัทจดทะเบียน(CGR) | 205-2 | 8,16 | ||||||||||||||
- จำนวนข้อร้องเรียนที่มีนัยสำคัญ | 205-3 | |||||||||||||||||
7. การพัฒนาสังคมและชุมชน |
|
- จำนวนกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน | 8,11 | |||||||||||||||
- จำนวนพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคม | ||||||||||||||||||
5. การบริหารทรัพยากรบุคคล |
|
- ความผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กร | 404-1 | 3,8,11 | ||||||||||||||
- จำนวนพนักงาน ที่ได้รับการ Training ตาม Roadmap ที่วางไว้ | ||||||||||||||||||
- อัตราการเกิดอุบัติเหตุ | 403-2 | |||||||||||||||||
2. การบริหารความเสี่ยง |
|
- การจัดการ ติดตามและทบทวนความเสี่ยงระดับหน่วยงาน | 102-30 | 8 | ||||||||||||||
4. นวัตกรรม |
|
- จำนวนโครงการที่ส่งเสริมด้านนวัตกรรม | 9 | |||||||||||||||
3. การบริหารห่วงโซ่อุปทาน |
|
- คู่ค้ารายสำคัญ ที่รับทราบ Supplier code of conduct | 16 | |||||||||||||||
6. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า |
|
- ความพึงพอใจของกลุ่มลูกค้าแฟรนไชส์ | 8 | |||||||||||||||
|
- จำนวนการถูกปรับอย่างมีนัยสำคัญกรณีละเมิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม | 307-1 | 12,7,13 | |||||||||||||||
|
- ปริมาณไฟฟ้าต่อยอดขายน้ำมันผ่านคลังน้ำมัน | 302-1 | ||||||||||||||||
- ปริมาณค่าไฟฟ้าต่อยอดขายน้ำมันผ่าน สถานีบริการ COCO | ||||||||||||||||||
- ปริมาณค่าน้ำต่อยอดขายน้ำมันผ่าน สถานีบริการ COCO |
การสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน SDGS
บริษัทดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ายของทั้งบริษัท ชุมชน ท้องถิ่น และสังคม โดยบริษัทมุ่งเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิต และปกป้องสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) โดยบริษัท ได้พิจารณาแล้วพบว่ามี 9 เป้าหมายที่สอดคล้องกับบริษัท ได้แก่ เป้าหมายที่ 1, 7, 8, 9, 11, 12, 13, 14, 16เป้าหมายที่ | เป้าประสงค์ | ประเด็นความยั่งยืน | การดำเนินการ | ประโยชน์ต่อบริษัท | ประโยชน์ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม |
มิติเศรษฐกิจ | |||||
8 : ส่งเสริมการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ และการมีงานที่มีคุณค่าสำหรับทุกคน
![]() |
8.1 รักษาการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ 8.2 เพิ่มความหลากหลายทาง เศรษฐกิจ ยกระดับเทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมถึงมุ่งเน้น การสร้างมูลค่าเพิ่มและ สนับสนุนการใช้แรงงานในภาค อุตสาหกรรม |
การกำกับดูแลกิจการที่ดี |
|
|
|
ความรับผิดชอบต่อลูกค้า |
|
|
|
||
การบริหารความเสี่ยง |
|
|
|
||
8 : ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุมและยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่และการมีงานที่มีคุณค่าสำหรับทุกคน
![]() |
8.5 จ้างงานเต็มอัตราอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นงานที่มีคุณค่าสำหรับผู้ชายและผู้หญิงทุกคน รวมถึงเยาวชน และผู้พิการ |
การพัฒนาสังคม และชุมชน |
|
|
|
การบริหารทรัพยากรบุคคล |
|
|
|
||
16 : ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมที่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ทุกคนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิภาพมีความรับผิดชอบ และทุกคนสามารถเข้าถึงในทุกระดับ
![]() |
16.5 ลดการทุจริตและการรับสินบนทุกรูปแบบ 16.6 พัฒนาสถาบันที่มีประสิทธิผล มีความรับผิดชอบและโปร่งใสในทุกระดับ 16.7 สร้างหลักประกันว่าจะมีกระบวนการตัดสินใจที่มีความรับผิดชอบ ครอบคลุม มีส่วนร่วมและมีความเป็นตัวแทนที่ดีในทุกระดับการตัดสินใจ |
การกำกับดูแลกิจการที่ดี |
|
|
|
การบริหารห่วงโซ่อุปทาน |
|
|
|
||
9 : สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความต้านทานและยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน
![]() |
9.2 สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรอบด้านและยั่งยืน 9.4 ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและปรับปรุงให้อุตสาหกรรมมีความยั่งยืน โดยเพิ่มการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและใช้เทคโนโลยีและกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่สะอาดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น |
นวัตกรรม |
|
|
|
มิติสังคม | |||||
1 : ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่
![]() |
1.1 ขจัดปัญหาความยากจน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|
11 : ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความทั่วถึงปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน
![]() |
11.1 สร้างหลักประกันการ บริการขั้นพื้นฐานที่เพียงพอ ปลอดภัย ตลอดจนยกระดับการพัฒนาชุมชนแออัด 11.2 จัดให้มีการเข้าถึงระบบคมนาคมที่ปลอดภัย และยั่งยืน สำหรับทุกคน และพัฒนาความปลอดภัยบนท้องถนน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|
มิติสิ่งแวดล้อม | |||||
7 : สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคาที่สามารถซื้อหาได้ เชื่อถือได้และยั่งยืน
![]() |
7.2 เพิ่มส่วนแบ่งของพลังงานหมุนเวียนในสมดุลการใช้พลังงาน 7.3 เพิ่มอัตราการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน |
พลังงานก๊าซเรือนกระจกการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
13 : ดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบ
![]() |
13.3 สร้างความตระหนักรู้และขีดความสามารถของมนุษย์และสถาบันในการบรรเทาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการปรับตัว และลดผลกระทบ |
|
|||
12 : สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน
![]() |
12.2 บริหารจัดการอย่างยั่งยืน และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ 12.4 บริหารจัดการสารเคมีและของเสียทุกประเภทอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 12.5 ลดการสร้างขยะในปริมาณมากโดยวิธีการป้องกันลดการใช้ รีไซเคิล และนำกลับมาใช้ใหม |
ขยะ ของเสีย และมลพิษ |
|
|
|
14 : อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
![]() |
14.2 บริหารจัดการและปกป้องระบบนิเวศชายฝั่งอย่างยั่งยืน |
การพัฒนาสังคม/ ชุมชน |
|
|
|